

ความเป็นมาของ
อุทยานวิทยาศาสตร์ภูมิภาค
กระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์
วิจัยและนวัตกรรม ดำเนินภารกิจการส่งเสริมกิจการอุทยานวิทยาศาสตร์มาตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 และได้สนับสนุนการดำเนินงานอุทยานวิทยาศาสตร์ภูมิภาคโดยให้มหาวิทยาลัยในพื้นที่ดำเนินงานร่วมกัน
ในลักษณะเครือข่าย โดยมี สป.อว. ทำหน้าที่
เป็นหน่วยงานกำหนดทิศทางเพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานตามนโยบาย (Commissioning Body)
ในภาพรวมของการดำเนินงานอุทยานวิทยาศาสตร์ภูมิภาค และกำหนด Strategic Position
ของอุทยานวิทยาศาสตร์ภูมิภาคให้เป็นกลไกพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ทั้งในระดับพื้นที่ ระดับภาค
และระดับประเทศ ผ่านเครือข่ายอุทยานวิทยาศาสตร์ภูมิภาค
วิจัยและนวัตกรรม ดำเนินภารกิจการส่งเสริมกิจการอุทยานวิทยาศาสตร์มาตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 และได้สนับสนุนการดำเนินงานอุทยานวิทยาศาสตร์ภูมิภาคโดยให้มหาวิทยาลัยในพื้นที่ดำเนินงานร่วมกัน
ในลักษณะเครือข่าย โดยมี สป.อว. ทำหน้าที่
เป็นหน่วยงานกำหนดทิศทางเพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานตามนโยบาย (Commissioning Body)
ในภาพรวมของการดำเนินงานอุทยานวิทยาศาสตร์ภูมิภาค และกำหนด Strategic Position
ของอุทยานวิทยาศาสตร์ภูมิภาคให้เป็นกลไกพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ทั้งในระดับพื้นที่ ระดับภาค
และระดับประเทศ ผ่านเครือข่ายอุทยานวิทยาศาสตร์ภูมิภาค
ความเป็นมืออาชีพ ครบจบใน 1 เดียว
วิสัยทัศน์
เป็นองค์การตัวกลาง (Intermediary)
ที่เป็น National Platform ในการส่งเสริมให้เกิด
การใช้ประโยชน์โครงสร้างพื้นฐาน ววน. เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมทั้งในระดับพื้นที่ ระดับภาค และระดับประเทศ
ที่เป็น National Platform ในการส่งเสริมให้เกิด
การใช้ประโยชน์โครงสร้างพื้นฐาน ววน. เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมทั้งในระดับพื้นที่ ระดับภาค และระดับประเทศ
พันธกิจ
1.สร้าง National Platform
ที่มี key player เข้าร่วมดำเนินงาน
2.ทำแผนงานส่งเสริมและเร่งการพัฒนา/ ใช้ประโยชน์นวัตกรรม รายสาขา รายพื้นที่
3.ทำแนวทางการปรับเปลี่ยนรูปแบบองค์กร
2.ทำแผนงานส่งเสริมและเร่งการพัฒนา/ ใช้ประโยชน์นวัตกรรม รายสาขา รายพื้นที่
3.ทำแนวทางการปรับเปลี่ยนรูปแบบองค์กร
Professional People
ทีมงานอุทยานวิทยาศาสตร์
นางวนิดา บุญนาคค้า
ผู้อำนวยการกองส่งเสริมและประสานเพื่อประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมนางสาวทิพวัลย์ เวชชการัณย์
ผู้อำนวยการกลุ่มอุทยานวิทยาศาสตร์ กองส่งเสริมและประสานเพื่อประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมผศ.ดร.ธัญญานุภาพ อานันทนะ
ผู้อำนวยการอุทยานวิทยาศาสตร์ภูมิภาค ภาคเหนือดร.อภิรชัย วงษ์ศรีวรพล
ผู้อำนวยการอุทยานวิทยาศาสตร์ภูมิภาค ภาคตะวันออกเฉียงเหนือผศ.ดร.ปภากร พิทยชวาล
ผู้อำนวยการอุทยานวิทยาศาสตร์ภูมิภาค ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างผศ.คำรณ พิทักษ์
ผู้อำนวยการอุทยานวิทยาศาสตร์ภูมิภาค ภาคใต้Regional Science Park
อุทยานวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง (จ.นครราชสีมา)
หรือ Lower Northeastern Science Park (Nakhon Ratchasima) : LNESP
เป็นโครงสร้างพื้นฐานสำคัญในการส่งเสริม
และพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม
ให้เข้มแข็ง สร้างธุรกิจและเทคโนโลยีใหม่ๆ
รวมถึงการนำผลงานวิจัยเข้าสู่ระบบการคุ้มครอง
และการใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ เป็นตัวกลางเชื่อมโยงการพัฒนานวัตกรรม ระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน/อุตสาหกรรม ภาคการศึกษา และภาคชุมชน/สังคม
และพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม
ให้เข้มแข็ง สร้างธุรกิจและเทคโนโลยีใหม่ๆ
รวมถึงการนำผลงานวิจัยเข้าสู่ระบบการคุ้มครอง
และการใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ เป็นตัวกลางเชื่อมโยงการพัฒนานวัตกรรม ระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน/อุตสาหกรรม ภาคการศึกษา และภาคชุมชน/สังคม
Space
Lab
Consultant
- พื้นที่สำหรับวิจัยและพัฒนา Research and Development
- พื้นที่โรงงานต้นแบบ Pilot Plant
- Regional Science Park Central Lab ที่รองรับการทดสอบด้านเกษตรและอาหาร
- การให้บริการให้คำปรึกษาทางด้านธุรกิจ/กฎหมาย/ทรัพย์สินทางปัญญา